วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง


บทที่ ๒

 อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของช                  อ่านเพิ่มเติม

คำที่ใช้ ฤ, ฤๅ, ฦ, ฦๅ


                 ตัว "ไม่ไช่คำที่เป็นภาษาไทยแท้ เป็นคำที่นำมาจากภาษาอิ่น โดยนำมาจากภาษาสันสกฤตซึ่งในภาษาสันสกฤตจะอ่านออกเสียงเป็น " ริ " แต่เมื่อไทยเราได้นำมาใช้ ตัว "ก็อ่านออกเสียงได้หลายแบบ และยังนำมาใช้เป็นสระในภาษาไทยจัดอยู่ในรูปของสระเกินหรือสระลอย ซึ่งสระในภาษาไทยของเราจะมี 21  รูป  32  เสียง รวม ฤ ฤๅ ฦ ฦๅเข้าไปด้วย แต่ตัว "ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นสระ อ่านเพิ่มเติม 

ดอกไม้ในวรรณคดี

    ดอกไม้ในวรรณคดีไทย หมายถึงดอกไม้ที่บรรดากวีไทยท่านได้พรรณาไว้เป็นบทร้อยกรองอย่างไพเราะในหนังสือวรรณคดี เช่น รามเกียรติ์  อิเหนา เงาะป่า ดาหลัง ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี บทเห่เรือเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก กาพย์ห่อโคลงนิราศทองแดง นิราสหริภุญชัย นิราศพระประธม นิราศสุพรรณ นิราศเมืองแกลง นิราศภูเขาทอ 

คำราชาศัพท์

คําราชาศัพท์ รักจังดอทคอมได้รวบรวม ความหมาย วิธีการใช้ รวมทั้งที่มา และ คำราชาศัพท์หมวดต่างๆ ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น หมวดเครื่องใช้ หมวดร่างกาย หมวดเครือญาติ หมวดอากัปกิริยา รวมทั้งหมวดอื่นๆ มาไว้ให้ทุกท่านศึกษาอย่างแจ่มแจ้ง หวังว่าคงเป็นประโยชน์แก่ทุกท่าน
อ่านเพิ่มเติม

ระดับภาษา

ความรู้เกี่ยวกับระดับภาษาช่วยให้สามารถพูดและเขียนภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสมกับสัมพันธภาพของบุคคล  โอกาสและกาลเทศะ  เพื่อให้การสื่อสารเป็นที่เข้าใจและพอใจทั้งฝ่ายผู้ส่งสารและผู้รับสารและบังเกิดสัมฤทธิ์ผลตามความมุ่งหมาย
การแบ่งระดับภาษา
ภาษาอาจแบ่งเป็นระดับต่าง ๆ ได้หลายวิธี เช่น
ก. แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ อ่านเพิ่มเติม

เรื่อง มงคลสูตรคำฉันท์

เรื่อง มงคลสูตรคำฉันท์
ความเป็นมา
    เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง


เรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

เรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ความเป็นมา
             บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติผู้แต่ง อ่านเพิ่มเติม